(นฤมล พฤกษศิลป และ พัชรา หาญเจริญกิจ, 2543 : 61-62) แบงความรูออกเปนหลายประเภทดังนี้
- ความรูกอนประสบการณ (Priori knowledge) คือ ความรูที่ไมตองอาศัยประสบการณ
- ความรูหลังประสบการณ (Posteriori knowledge) คือ ความรูที่เกิดหลังจากที่มีประสบการณแลว
- ความรูโดยประจักษ (Knowledge by Acquaintance) คือ ความรูที่เกิดจากสิ่งที่ถูกรู ซึ่งปรากฏโดยตรงตอผูรูผานทางหู ตา จมูก ลิ้น หรือ กาย
- ความรูโดยบอกกลาว (Knowledge by Description) คือ ความรูที่เกิดจากคําบอกเลา
- ความรูเชิงประจักษ หรือความรูเชิงประสบการณ (Expirical knowledge) คือ ความรูที่ได้จากประสบการณ หรือความรูหลังประสบการณ์
- ความรูโดยตรง (Immediate knowledge) คือ ความรูที่ไดรับโดยสัมผัสทั้ง 6 คือ เห็น ไดยิน กลิ่น รส สัมผัส และรับรูทางใจ
- ความรูเชิงปรวิสัย หรือ ความรูเชิงวัตถุวิสัย (Objective knowledge) คือ ความรูที่เกิดจากเหตุผลหรือประสบการณที่สามารถอธิบาย หรือทดสอบใหผูอื่นรับรูไดอยางที่ตน
- ความรูเชิงอัตวิสัย หรือความรูเชิงจิตวิสัย (Subjective knowledge) คือ ความรูที่เกิดจากการประสบดวยตนเอง และตนไมสามารถอธิบายได หรือทดสอบใหผูอื่นรับรูได้
(Tiwana, 2000 : 67) แบงประเภทของความรูไว ดังนี้
- ความรูภายนอก เปนความรูที่ไดจากการแสดงความคิดเห็น ความเชื่อของบุคคลในการทํางาน
- ความรูจากแหลงความรูตางๆ เปนความรูที่มาจากแหลงความรูอื่นๆ ภายนอกตัวบุคคล และแหลงความรูตางๆ
- ความรูที่ไมอยูเฉพาะที่ เปนความรูที่เปนอิสระ สามารถถายทอดไดจากบุคคลไปสูองคกร หรือจาก องคกรไปสูองคกร
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น